ReadyPlanet.com


ประวัติ กีฬามวยไทย UFAGOOD เว็บพนันออนไลน์ เว็บชั้นนำของไทย


 ประวัติ กีฬามวยไทย UFAGOOD เว็บพนัuออนไลน์ เว็บชั้นนำของไทย

 

 

สมัครสมาชิกเล่นมวยไทยออนไลน์!!

ประวัติ กีฬามวยไทย UFAGOOD เว็บออนไลน์ กีฬามวยไทย เป็น กีฬาเก่าแก่ ของไทย เป็นที่ นิยม ของประชาชน ทุกชั้น ทุกสมัย ในชั้นต้นมวยไทย ไม่ได้ มีกติกา เป็นลายลักษณ์อักษร แต่ นายสนาม ย่อมชี้แจงให้ นักมวยคู่แข่งขัน ทราบถึงหลักเกณฑ์ ในการแข่งขันนั้น ๆ หลักเกณฑ์ต่าง ๆ เหล่านี้ เมื่อได้ใช้กันมากขึ้น จึงกลาย เป็นประเพณี และใช้เป็น หลักเกณฑ์ สำหรับ การแข่งขัน ในเวลาต่อมา

สมัครสมาชิกเล่นมวยไทยออนไลน์!!

สำหรับการต่อสู้ ที่ใช้ร่างกายเป็นอาวุธ โดยเป็นที่รู้จักว่าเป็น  “นวอาวุธ”  ซึ่ง ประกอบด้วย การโจมตี จากร่างกายทั้ง หมัด, ศอก, เข่า และเท้า หากมีการเตรียมพร้อม ด้านร่างกายดี จะก่อให้เกิดอาวุธ ที่มีอานุภาพ มวยไทย ได้เป็นที่แพร่หลายใน ระดับนานาชาติ ใน ช่วงศตวรรษที่ยี่สิบ เมื่อเหล่า นักมวยไทยสามารถเป็น ฝ่ายชนะ นักต่อสู้ที่มีชื่อเสียงในแขนงอื่น ซึ่งการแข่งขันมวยไทย ในระดับอาชีพ ได้รับการดูแลโดยสภามวยไทยโลก

ประวัติ กีฬามวยไทย UFAGOOD เว็บพนันออนไลน์ เว็บชั้นนำของไทย

สมัยกรุงศรีอยุธยา
มวยไทย ในสมัยกรุงศรีอยุธยา  สมัยกรุงศรีอยุธยา เริ่มประมาณ พ.ศ.1988 – 2310 บางสมัย ก็มีศึก กับประเทศใกล้เคียง เช่น พม่า และเขมร ดังนั้น ชายหนุ่ม สมัยกรุงศรีอยุธยา จึงต้องฝึกฝน ความชำนาญ ในการต่อสู้ ด้วยอาวุธ และศิลปะป้องกันตัว ด้วยมือเปล่า โดยมี ครูผู้เชี่ยวชาญทางการต่อสู้ เป็นผู้สอน การฝึกเริ่มจากในวัง ไปสู่ประชาชน สำนักดาบพุทธไทสวรรค์ เป็นสำนักดาบที่มีชื่อเสียงสมัยอยุธยา มีผู้นิยม ไปเรียนมาก ซึ่งในการฝึก จะใช้อาวุธจำลอง คือ ดาบหวาย เรียกว่า กระบี่กระบอง นอกจากนี้ ยังต้องฝึกการต่อสู้ ป้องกันตัว ด้วยมือเปล่า เรียกว่า มวยไทย ควบคู่กันไปด้วย ในสมัยนี้ วัด ยังคงเป็นสถานที่ ให้ความรู้ทั้ง วิชาสามัญ และวิชาปฏิบัติ ในเชิงอาวุธควบคู่กับมวยไทยอีกด้วย

สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พ.ศ.2133 – 2147) พระองค์ทรงเลือกคนหนุ่ม รุ่นราวคราวเดียว กับพระองค์มาทรงฝึกหัด ด้วยพระองค์เอง โดยฝึกให้มี ความกล้าหาญ มีความเชื่อมั่นตนเอง ใช้อาวุธได้ทุกชนิด อย่างชำนาญ มีความสามารถ ในศิลปะการต่อสู้มวยไทย ได้ดีเยี่ยม และพระองค์ทรงตั้ง กองเสือป่าแมวมอง เป็นหน่วยรบแบบกองโจร ซึ่งทหารกองนี้เอง มีบทบาทมาก ในการกอบกู้เอกราชของชาวไทย จากพม่าในปี พ.ศ.2127

สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช

สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ.2147 – 2233) สภาพบ้านเมือง สงบร่มเย็น มีความเจริญรุ่งเรืองมาก พระองค์ทรงให้การ ส่งเสริม และสนับสนุน กีฬาอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะมวยไทยนั้น นิยมกันมาก จนกลายเป็น กีฬาอาชีพ มีค่ายมวยเกิดขึ้นมากมาย การเปรียบคู่ชกด้วยความสมัครใจ ทั้งสองฝ่าย ไม่คำนึงถึง ขนาดร่างกายและอายุ กติกา เป็นการชกแบบง่าย ๆ คือ ชกจนกว่า ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด จะยอมแพ้

สมัยสมเด็จพระเจ้าเสือ

สมัยสมเด็จพระเจ้าเสือ (พ.ศ.2240 – 2252) สมัยพระเจ้าเสือ หรือขุนหลวงสุรศักดิ์ พระองค์ทรงโปรด การชกมวยไทยมาก ครั้งหนึ่งพระองค์ได้เสด็จไปที่ตำบลหาดกรวด พร้อมด้วยมหาดเล็กอีก 4 คน แต่งกายแบบชาวบ้าน ไปเที่ยวงาน แล้วเข้าร่วม การเปรียบคู่ชก นายสนามรู้เพียงว่าพระองค์เป็นนักมวยจากเมืองกรุง จึงจัดให้ชกกับนักมวยฝีมือดี จากสำนักมวยเมืองวิเศษไชยชาญ ซึ่งได้แก่ นายกลาง หมัดตาย นายใหญ่ หมัดเล็ก และนายเล็ก หมัดหนัก ซึ่งพระองค์ชกชนะ ทั้ง 3 คนรวด


สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น

ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น พระมหากษัตริย์ ทรงโปรด ให้มี กรมมวยหลวง ขึ้น โดยให้คัดเลือกเอาชายฉกรรจ์ ที่มี ฝีมือ ในการชก มวยไทย เข้าต่อสู้กันหน้าพระที่นั่ง แล้วคัดเลือกผู้มีฝีมือดี ไว้เป็นทหารสนิท และทหารรักษาพระองค์ เรียกว่า “ทหารเลือก” สังกัดกรมมวยหลวง มีหน้าที่ รักษาความปลอดภัย ภายในพระราชวัง หรือตามเสด็จ ในงานต่าง ๆ ทั้งยังเป็น ครูฝึกมวยไทยให้ทหาร และพระราชโอรสอีกด้วย

สมัยกรุงธนบุรี

สมัยกรุงธนบุรี สมัยกรุงธนบุรี เริ่ม พ.ศ.๒๓๑๐ – ๒๓๒๔ บ้านเมืองอยู่ระหว่างการฟื้นฟูประเทศ หลังจากการกู้อิสรภาพคืนมาได้ การฝึก มวยไทย สมัยนี้ เพื่อการสงคราม และการฝึกทหารอย่างแท้จริง ในยุคนี้มีนักมวยฝีมือดี มากมาย  กติกา การแข่งขัน ยังไม่ปรากฏชัดเจน ทราบเพียงแต่ว่าชกแบบ ไม่มีคะแนน จนกว่าอีกฝ่ายหนึ่ง จะยอมแพ้ไป สังเวียนเป็นลานดิน ส่วนมากเป็นบริเวณวัด นักมวยยังชกแบบคาดเชือกสวมมงคล และผูกประเจียดที่ต้นแขนขณะทำการแข่งขัน

สมัยกรุงรัตนโกสินทร์

สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ กีฬามวยไทย ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น รัชกาลที่ ๑ ถึงรัชกาลที่ ๔ พ.ศ.๒๓๒๕ – ๒๔๑๑ ระยะเวลา ๘๖ ปี กีฬามวยไทย ยังเป็นศิลปะประจำชาติ มีการจัดแข่งขัน ในงานเทศกาลประจำปี กติกา เริ่มมี การกำหนดเวลา การแข่งขัน เป็นยก โดยใช้ กะลามะพร้าว ที่มีรูลอยน้ำ ถ้ากะลามะพร้าวจม ถึงก้นอ่างก็จะตีกลอง เป็นสัญญาณ หมดยก การแข่งขัน ไม่กำหนดยกชกกัน จนกว่าอีกฝ่ายหนึ่งจะ ยอมแพ้

ดูตัวอย่างเพิ่มเติมคลิก!!



ผู้ตั้งกระทู้ จันจิ (loveanny747-at-gmail-dot-com) :: วันที่ลงประกาศ 2020-12-16 14:24:24 IP : 171.100.183.45


แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล 
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล



Copyright © 2010 All Rights Reserved.